พัฒนาการของกฏหมายไทย

         ยุคที่ ๑  คือ ยุคเศรษฐกิจแบบปิด localism เป็นยุคตั้งแต่ พ. ศ. ๒๓๔๗ - พ. ศ. ๒๓๙๘ ก่อนการมีสนธิสัญญา Bowring
ในระบบนี้เป็นระบบเศรษฐกิจแบบปิด ไม่มีกรรมสิทธิในที่ดิน ใช้ระบบไพร่/ ทาส การปกครองเป็นแบบจตุสดมภ์โบราณ

        ยุคที่ ๒  เริ่มตั้งแต่ปีพ. ศ. ๒๓๙๘ - พ. ศ. ๒๕๔๐ เป็นยุคที่เศรษฐกิจแบบตลาดกระแสโลกเข้ามาในระบบเศรษฐกิจแบบปิด
ของประเทศไทยมีการยอมรับเอกสารสิทธิ เลิกระบบไพร่และทาส เป็นยุทธศาสตร์โลกาภิวัฒนา ให้ความสำคัญกับธุรกิจการพัฒนาขนาดใหญ่เพื่อการส่งออก ส่งผลให้กฎหมายที่ออกมาในยุคนั้นมีลักษณะ ๖ ประการ คือ
          ( ๑) กฎหมายไทยมีลักษณะพันทาง (hybrid) เพราะต้องให้ทันสมัยเพื่อรับ globalism ในยุคแรกที่เข้ามาใน พ. ศ. ๒๓๙๘
sex hikayelerisikiş hikayelerisikiş hikayelerisikiş hikayelerisex hikayelerisex hikayelerisex hikayeleri           ( ๒) สนับสนุนธุรกิจอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกที่ต้องใช้ทุนมหาศาล ละเลยคนจน คนด้อยโอกาส เริ่มมีกฎหมายการลงทุน กฎหมายการนิคมอุตสาหกรรม กฎหมายศุลกากร กฎหมายคืนภาษี แต่ไม่มีกฎหมายที่จะช่วยเหลือคนจน
          ( ๓) กฎหมายรวมศูนย์กลางของการใช้กฎหมายให้มีส่วนร่วมโดยตรง
          ( ๔) ราชการเป็นศูนย์กลางของประชาชนและกฎหมายที่ใช้บังคับเป็นกฎหมายที่สร้างภาระให้ประชาชน
          ( ๕) กฎหมายที่ใช้บังคับมุ่งการควบคุมด้วยวิธีการลงโทษทางอาญาเป็นหลัก
          ( ๖) ขาดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
        ยุคที่ ๓  ยุคโลกาภิวัฒน์ มีการสร้างความสมดุลให้เกิดขึ้นระหว่าง globalism และ localism เรียกว่า ยุทธศาสตร์ชุมชน
ท้องถิ่นพัฒนา เช่น ทุนสุขภาพ ๓๐ บาทรักษาทุกโรค ทุนทางปัญญา ให้ทุนการศึกษาอันเกิดจากหวยบนดิน ทุนทางสังคม
เน้นการปราบยาเสพติด การจัดระเบียบสังคม ปราบปรามผู้มีอิทธิพล และทุนทางทรัพย์สิน เช่น บ้านเอื้ออาทร กองทุนหมู่บ้าน ธนาคารประชาชน การแปลงสินทรัพย์เป็นทุน และ SML และเน้นการบริหารพื้นที่เป็นจุดพื้นที่ คือ ผู้ว่า CEO
และ “ ทัวร์นกขมิ้น” ๗๖ จังหวัดของนายกรัฐมนตรี